วิธีการทดลอง
1. การทดสอบฤทธิ์ของสารสกัดเคอร่าเหนี่ยวนำให้เกิด Apoptosis ในเซลล์มะเร็งปอด A549 การทดสอบฤทธิ์ของสารสกัดเคอร่าเหนี่ยวนำให้เกิด Apoptosis ต่อเซลล์มะเร็งปอดชนิด enocarcinoma human alveolar basal epithelial cells (A549) โดยเพาะเลี้ยงเฉเพาะเลี้ยง (25 cm2 cell culture flasks) ที่สภาว: 5% CO> และอุณหภูมิ 37 37 องศาเซลเซียส เซลล์ A549 เลี้ยงด้วยอาหารสูตร Dulbecco's Modifed Eagle Medium (DMEM) ที่มีชีรัมของตัวอ่อนลูกวัว (Fetal bovine serum) ในปริมาณ 10% และ 1% ยาปฏิชีฏิชีวนะ(Penicillin/streptomycin) เมื่อเซลล์ มีปริมาณมากพอ ทำการแยกเซลล์ให้หลุดออกจากกันและหลุดจากพื้นผิวของภาชนะที่ใช้เลี้ยง เซลล์ด้วยเอนไซม์ทริปชิปชิปชิน (trypsinization) ที่มีกรดเอทิลีนไดเอมีนเตตระแอชีติก (trypsin-EDTA) และนับเซลล์ให้ได้ปริมาณ 35,000 เซลล์ต่อหลุม เพื่อทดลอบการเหนี่ยวนำให้เกิดคคoptosis เซลล์ที่ผ่านการเพาะเลี้ยงเป็นเวลา 24 ชั่วโมง
PDFการศึกษาผลกระทบของคำรับสมุนไพรไทยเพื่อใช้ในการด้านการอักเสบใน
แบบจำลองเซลล์ปอดที่ถูกเหนี่ยวทำให้เกิดการอักเสบด้วยลิโพโพลีแซคตาร์ไรด์ INVESTIGATION OF THE ANTI-INFLAMMATORY PROPERTIES OF THAI HERBAL PHARMACOPOEIA USING A LUNG CELL MODEL THAT HAS BEEN INDUCED BY LIPOPOLYSACCHARIDE (LPS)
นายภูมินทร์ ฉ่ำสดใส
บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ปีการศึกษา ๒๕๖๖
งานวิจัยเคอร่าต้านไข้หวัดใหญ่ H1N1-a ได้ถูกนำเสนอ บทความฉบับเต็ม (Proceeding)
ในงานประชุมวิชาการประจำปีครั้งที่ 33 ของ สมาคมไวรัสวิทยา (ประเทศไทย)
Viral Watch: From Zoonotic Threats and Environmental Monitoring to Emerging Disease Preparedness
28-29 พฤศจิกายน 2567 ณ โรงแรม เอส ดี อเวนิว ปิ่นเกล้า กรุงเทพฯ
อ่านงานวิจัยคลิก
รายงานการศึกษาฤทธิ์ของสมุนไพร KERRA VITALPLUS และ ZAMINZYME ในการยับยั้งเอนไซม์5a-reductase ที่ก่อให้เกิดอาการผมร่วงและต่อมลูกหมากโต
PDFไฟล์ข้อมูล complementary ของโปรตีโอมิกส์ ของเซลล์มะเร็งลำไส้ใหญ่ hct 116
หลังจากได้รับสารสกัดเคอร่าทำให้มีการเปลี่ยนแปลงการแสดงออกของยีนในลักษณะต่างๆโดยมีการยับยั้งกลุ่มยีนที่ก่อมะเร็งoncogeneและกระตุ้นการแสดงออกของยีนที่ยับยั้งมะเร็ง การยับยั้งโปรตีนที่ก่อการอักเสบและกระตุ้นโปรตีนต้านการอักเสบ
การทดสอบความเป็นพิษของสารสกัดอัปสร Absorn ต่อเซลล์มะเร็งโดยใช้ MTT assay
วัตถุประสงค์: ศึกษาความเป็นพิษของสารสกัด Absorn ต่อเซลล์มะเร็งปากมดลูก (HeLa) และเซลล์มะเร็งเต้านม (MCF-7)
PDFตารางแสดงผลการทดสอบความเข้มข้นของสารยับยั้งเซลล์มะเร็งปอด A549 โดยใช้สารสกัด 4 ชนิด คือ G531,
Beta X, IMO และ Merdana ทำการทดสอบเป็นเวลา 72 ชั่วโมง โดยใช้ความหนาแน่นของเซลล์ 6,000
เซลล์/หลุม หรือ 6x104 เซลล์/มิลลิลิตร
คอลัมน์ต่างๆ ในตารางหมายถึง:
รูปภาพแสดงผลการทดลอง Clonogenic assay ของสารสกัด Kerra ที่มีต่อการเจริญเติบโตของเซลล์มะเร็งปอด (A549) แกน X: แสดงความเข้มข้นของสารสกัด Kerra (Ug/mL) โดยมีกลุ่มควบคุม (Uท) และกลุ่มที่ใช้ Doxorubicin (Dox) ซึ่งเป็นยาเคมีบำบัดที่ใช้รักษามะเร็งปอด แกน Y: แสดงค่า OD560 ซึ่งเป็นการวัดปริมาณเซลล์ ค่า OD560 ที่สูงขึ้นบ่งชี้ว่ามีเซลล์เจริญเติบโตมากขึ้น ภาพ: แสดงภาพจุลทรรศน์ของโคโลนีเซลล์ โคโลนีที่ใหญ่และหนาแน่นหมายถึงการเจริญเต็บโตยงเซลล์ ผลลัพธ์: ที่ความเข้มข้น 600 บg/ml สารสกัด Kerra ทำให้การเจริญเติบโตของเซลล์มะเร็งปอดลดลงอย่างเห็นได้ซั ด เมื่อเทียบกับกลุ่มควบคุมและกลุ่มที่ใช้ Doxorubicin แสดงให้เห็นถึงศักยภาพในการยับยั้งการเจริญเติบโตของเซล ล์มะเร็ง โดยสรุป รูปภาพนี้แสดงให้เห็นว่าสารสกัด Kerra มีฤทธิ์ในการยับยั้งการเจริญเติบโตของเซลล์มะเร็งปอด A549 โดยที่ความเข้มข้น 600 ug/mL มีประสิทธิภาพในการยับยั้งการเจริญเติบโตองเซลล์ได้ดี สูง
Imageรายงานผลผลการทดลองแสดงว่า เคอร่าสามารถยับยั้งการติดเชื้อไวรัสไข้หวัดใหญ่ H1N1
ได้ 100% ที่ความเข้มข้น 1,000 ไมโครกรัมต่อมิลลิลิตร Kerra สามารถยับยั้งการติดเชื้อในเซลล์
MDCK ได้อย่างสมบูรณ์ เมื่อเทียบกับเซลล์ที่ไม่ได้รับการรักษาด้วย Kerra
กลไกการยับยั้งคือการยับยั้งการทำงานของเอนไซม์Neuraminidaseซึ่งไวรัสใช้ในการขยายจำนวนออกนอกเซลล์และเข้าสู่เซลล์
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 1943
วิทยานิพนธ์เปรียบเทียบ S-FTIR การวิเคราะห์ JAK INIBITORS INTF-I CELLS
และการประเมินสารสกัดจาก Kerra ยับยั้ง HCT116 มะเร็งลำไส้ใหญ่
จีรประภา ศิริวาสรี บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปีการศึกษา 2024
Comparative S-FTIR Analysis of JAK Inhibitors in TF-1 Cells and
Evaluation of KerraTM Extract for HCT116 Colon Cancer
SCOPE/STRUCTURE OF STUDY
This project contains two studies including the Janus kinase (JAK)
inhibitor's effects on TF-I myelofibrosis cancer cells and the apoptotic effects of the
KerraTM extract on HCT116 colorectal cancer cells.
The research paper titled "Synchrotron Fourier Transform Infrared
Microscopy Spectra in Cellular Effects of Janus Kinase Inhibitors on Myelofibrosis
Cancer Cells" aims to assess the chemical changes in cells following treatment with
JAK inhibitors, shedding light on their potential for myelofibrosis therapy. The study
utilizes synchrotron Fourier transform infrared (S-FTIR) spectroscopy to delve into
the molecular-level impacts of these drugs on cellular biochemical components. By
employing a fingerprint approach that combines S-FTIR data with in vitro
cytotoxicity assays, the research unveils distinct patterns of cellular responses to the
JAK inhibitors. The comparison of two inhibitors, Ruxolitinib and Tofacitinib, reveals
that Ruxolitinib has a more pronounced inhibitory effect on TF-I cells. Furthermore,
the study involves calculating ICso values and utilizing principal component analysis
(PCA) to categorize cellular biochemical alterations under different treatment
conditions. The research sheds light on the molecular changes induced by JAK
inhibitors on TF-I myelofibrosis cancer cells using advanced spectroscopic
techniques, aiming to enhance understanding of their biochemical impacts and
therapeutic potential.
The second publication was titled "Exploring the Apoptotic-Induced
Biochemical Mechanism of Traditional Thai Herb(KerraTM) Extract in HCT116 Cells
Using a Label-Free Proteomics Approach". This study delves into the mechanisms
through which the KerraTM extract triggers apoptosis in the HCT116 colorectal cancer
cell line. It investigates the effects of the KerraTM extract on cell viability and
apoptosis in a dose-dependent manner. Additionally, the research aims to understand
the biochemical mechanisms that regulate apoptotic markers such as caspase-8 and
รายงานผลการทดลอง : การทดสอบฤทธิ์ของสารสกัดเคอร่าเหนี่ยวนำให้เกิด Apoptosis
ในเซลล์มะเร็งปอด A549 ด้วยวิธี Apoptosis assay เปรียบเทียบกับยาเคมีบำบัด Doxorubicin
วัดถุประสงค์ : เพื่อศึกษาฤทธิ์ของสารสกัดเคอร่าเหนี่ยวน้ำให้เกิด Apด Aptosis
วิธีการทดลอง
1. การทดสอบฤทธิ์ของสารสกัดเคอร่าเหนี่ยวนำให้เกิด Apoptosis ในเซลล์มะเร็งปอด A549
การทดสอบฤทธิ์ของสารสกัดเคอร่าเหนี่ยวนำให้เกิด Apoptosis ต่อเซลล์มะเร็งปอดชนิด
Adenocarcinoma human alveolar basal epithelial cells (A549) โดยเพาะเลี้ยงเซลล์ในภาชนะ
เพาะเลี้ยง (25 cm2 cell culture flasks) ที่สภาว: 5% CO, และอุณหภูมิ 37 องศาเซลเซียส เซลล์
A549
เลี้ยงด้วยอาหารสูตร Dulbecco's Modified Eagle Medium (DMEM) ที่มีซีรัมของตัวอ่อนลูกวัว
(Fetal
bovine serum) ในปริมาณ 10% และ 196 ยาปฏิชีวนะ(Penicillin/streptomycin) เมื่อเซลล์
มีปริมาณมาก
พอ ทำการแยกเซลล์ให้หลุดออกจากกันและหลุดจากพื้นผิวของภาชนะที่ใช้เลี้ยง
เซลล์ด้วยเอนไซม์ทริปซิปซิปซิน
(trypsinization) ที่มีกรดเอทิลีนไดเอมีนเตตระแอชีติก (trypsin-EDTA) และนับเซลล์ให้ได้ปริมาณ
35,000
เซลล์ต่อหลุม เพื่อทดสอบการเหนี่ยวน้ำให้เกิดคคoptosis เซลล์ที่ผ่านการเพาะเลี้ยงเป็นเวลา 24
ชั่วโมง ใน
ถาด 24 หลุม เปลี่ยนอาหารที่มีสารสกัดเคอร่า ความเข้มข้น 150, 300, 600 และ 1000 pg/ml ตามลำดับ
และยา Doxorubicin ความเข้มข้น 3 UM แล้วนำเซลล์ไว้ใน สภาวะเพาะเลี้ยงเป็นเวลา 72 ชัวโมง
จากนั้นทำ
การแยกเซลล์ให้หลุดออกจากกันและหลุดจากพื้นผิวของภาชนะที่ใช้เลี้ยง เซลล์ด้วยเอนไซม์ทริปชิปชิน
(trypsinization) ที่มีกรดเอทิลีนไดเอมีนเตตระแอซีติก (trypsin-EDTA) นำไปปั้นเหวี่ยงที่ 1,000
rpm 5 นาที
เท supernatant ทิ้ง แล้วเติมชุดน้ำยา Annexin V 100 pl บ่มอุณหภูมิห้อง 30 นาที
นำไปใช้ใช้ในขั้นตอนต่อไป
ผลคอมพิวเตอร์ analysis (in silico) เปรียบเทียบประสิทธิภาพของสารสำคัญชนิดต่างๆในตำรับสมุนไพรเคอร่า เปรียบเทียบกับยามุ่งเป้า erlotinib gefitinib osimertinib
PDFรายงานผลการทดลอง
จากการทดลองฤทธิ์ในการยับยั้งการทำงานของเอนไซม์ 5C- Reductase ของสารสกัด
Topaz, Kerra และ Vitalplus ที่ความเข้มข้น 1 มิลลิกรัมต่อมิลลิลิลิตร พบว่า
สารสกัดมีความสามารถใน
การทำงานของเอนไซม์ โดยมีค่าร้อยละการยับยั้งอยู่ที่ 88.298 + 0.501, 53.901 + 1.003 และ 41.135
+ 12.036 ตามลำดับ ในขณะที่ยา Finasteride ที่ความเข้มข้น 1 ไมโครกรัมต่อมิลลิลิตร
สามารถยับยั้ง
การทำงานของเอนไซม์อยู่ที่ร้อยละ 56.028 + 7.021 ซึ่งแสดงให้เห็นว่าสารละลายสมุนไพรที่มี
ความสามารถในการยับยั้งการทำงานของเอนไซม์ 5Q- reductase ได้ดีที่สุดคือสารสกัดสมุนไพร
Topaz
รายงานผลการเปลี่ยนแปลงจุลินทรีย์ในลำไส้ micro biom ของผู้ป่วยมะเร็ง
หลังการรับประทานสมุนไพร KS ต่อเนื่อง 30 วัน พบว่ามีความหลากหลายของจุลินทรีย์เพิ่มขึ้น
และมีจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ในการสร้างกรดไขมันสายสั้นวิตามินและบิวทีเรทเพิ่มมากขึ้น
ผลการทดสอบสมุนไพร Vitalplus มีฤทธิ์เสริมกระดูกโดยเพิ่มปริมาณของเซลล์สร้างกระดูก Osteoblastsและเพิ่มปริมาณของแคลเซียมในเซลล์กระดูก
PDFสารสำคัญในตำรับสมุนไพรเคอร์ร่าที่ยับยั้งโปรตีนในระดับเซลล์และเกี่ยวข้องกับการรักษาความผิดปกติการแสดงออกของยีน
(ถ้าเป็นลบหมายถึง molecular dockingความแรงในการจับกับโปรตีน tyrosine kinase EGFR )
รายงานผลความก้าวหน้างานวิจัยของทีมวิจัยชีวเคมีประจำเดือนสิงหาคม 2567
รายงานผลการทดสอบประสิทธิภาพการยับยั้งเชื้อS.mutantsของยาสีฟันที่มีส่วนผสมของฟลูออไรด์ 1500 tpm
Documentรายงานวิจัยลำดับสมุนไพรเคอร่ายับยั้งไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ A H1N1
ด้วยกลไกการยับยั้งการเข้าสู่เซลล์ของไวรัสได้ถึง 100% และยับยั้งเอนไซม์เพิ่มจำนวนไวรัสNeuraminidase
PDFการวิจัยตำรับสมุนไพรเคอรายับยั้งไวรัส HIV ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารPharmaceuticals ในเครือข่ายของMDPI
PDF🚩งานวิจัย เทคโนโลยี การผลิตและสกัดสารสำคัญจากพืชสมุนไพร❄️Bioactivecrystallization
ซึ่งเป็น เทคโนโลยีการผลิตและสกัดสารสำคัญจากพืชสมุนไพร แบบองค์รวมโดย
ตรึงสารสำคัญไว้ในผลึกคริสตัลของน้ำตาลเชิงซ้อน เพื่อให้สารสำคัญเสถียรและคงตัว
สิทธิบัตรของดร.ภัทร์ หนังสือ ได้รับการตีพิมพ์และเผยแพร่ในวารสาร Thai Journal of
Taxicology (Volume 39)
🌾ซึ่งการวิจัยนี้ได้ทำกับเมล็ดงาขี้ม้อน ( Perilla seeds) โดยทีมวิจัยของ
สถาบันโภชนศาสตร์มหาวิทยาลัยมหิดล นำโดย รศ.ดร.เอกราช เกตุวัลห์
⚡ผลการวิจัยพบว่า เทคโนโลยีการผลิตนี้สามารถลดปริมาณของสาร Antinutrients ในเมล็ดงาขี้ม้อน
เช่นPhytic Acid, Oxalic acid ที่ส่งผลให้ร่างกายไม่สามารถดูดซึมเอาสารสำคัญและแร่ธาตุ
ในอาหารเข้าสู่ร่างกายได้
นอกจากนั้นยังช่วยเพิ่มการนำสารอาหารไปใช้ทางชีวภาพ (Bioaccessibility) ซึ่งหมายถึง
ระดับหรืออัตราที่สารถูกดูดซึม หรือพร้อม ใช้ ณ.ตำแหน่งออกฤทธิ์ทางสรีรวิทยา
หลังจากให้สารนั้น โดยจะรวมไปถึงการดูดซึม (absorption) การเผาผลาญ (metabolism)
การกระจายตัวในเนื้อเยื่อ (tissue distribution) และการออกฤทธิ์ทางชีวภาพ (bioactivity)
ในร่างกาย
ความก้าวหน้าล่าสุดของการวิจัยตำรับสมุนไพรเคอร่า ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารWSEAS Transactions
on Biology and
Biomedicine
ในหัวข้อ Anticancer Activity of the Thai Herbal Formula "Kerra" Versus Afatinib and
Doxorubicin In Vitro
โดยพบฤทธิ์ยับยั้งเซลล์มะเร็งผิวหนัง มะเร็งลำไส้ใหญ่ มะเร็งตับ มะเร็งปอด
มะเร็งปอดที่ดื้อยาและกลายพันธุ์ มะเร็งเต้านม มะเร็งปากมดลูก
งานวิจัยล่าสุด สมุนไพรต้านมะเร็ง งานวิจัยตำรับสมุนไพรเคอร่ายับยั้งมะเร็งเต้านม มะเร็งปากมดลูก มะเร็งลำไส้ใหญ่ มะเร็งปอด มะเร็งผิวหนังมะเร็งตับ และมะเร็งปอดชนิดเซลล์ไม่เล็กที่กลายพันธุ์และดื้อยา เปรียบเทียบกับยาเคมีบำบัดและยามุ่ง เป้า Doxorubicin และ Afatinib ได้รับการตีพิมพ์ในวารสาร WSEAS Transactions on Biology and Biomedicine, Volume 21, 2024
PDFการวิจัยพบกลไกของสมุนไพร เคอร่า มีฤทธิ์ฆ่าเซลล์มะเร็งลำไส้ใหญ่และเหนี่ยวนำให้เกิดการตายแบบ Apoptosis รวมทั้งการปรับสมดุลการแสดงออกของยีน ยับยั้งการแสดงออกของยีนที่ก่อมะเร็ง กระตุ้นการแสดงออกของยีนยับยั้งมะเร็งให้เพิ่มขึ้น
PDFผลวิจัยยาสมุนไพร KS,KERRA,MINOZA มีฤทธิ์ฆ่าเซลล์มะเร็งปากมดลูก และมีฤทธิ์ป้องกันไวรัส hpv เข้าสู่เซลล์
PDFงานวิจัย "ผลของการใช้ยาเคอร่า ต่อลักษณะอาการของผู้ป่วยติดเชื้อโควิค 19 ที่พักรักษาตัวที่บ้าน" ได้รับการยืนยันตอบรับตีพิมพ์ จากวารสาร Journal of Current Pediatric Research ซึ่งเป็นวารสารในระดับนานาชาติแล้วครับ ท่านใดสนใจดาวน์โหลดเก็บไว้อ่านได้เลยครับ
PDFKERRA, mixed medicinal plant extracts,inhibits SARS-CoV-2 targets enzymes and Feline corona virus.
PDFผลการทดลอง Glucose utilization ของสารตัวอย่าง KERRA, KS และ Minoza extract7:1 ในเซลล์มะเร็งตับ (HepG2)
PDFรายงานผลการทดสอบ 1
ผลการทดสอบการยับยั้งเอนไซม์ egfr
ซึ่งเป็นสาเหตุของโรคมะเร็งหลายชนิดเช่นมะเร็งปอดมะเร็งลำไส้ใหญ่มะเร็งสมอง
มะเร็งตับและมะเร็งเต้านม ของตำรับยาสมุนไพรKERRA, RIDSE, IMO
รายงานผลการทดสอบ 2
เรื่อง ประสิทธิภาพ การ ลดความดันโลหิตโดยกลไก การ ยับยั้ง Ace1
ของตำรับสมุนไพรKERRA BOVA